AIPMC President and Indonesian Member of Parliament, Ms. Eva Kusuma Sundari is in Canberra today to accept the invitation of Burma Campaign Australia (BCA) together with Australian Parliamentarians for Democracy in Burma (APDB) to participate in a half day seminar on 100 days of Myanmar’s Parliament, May 12, 2011 at Parliament Building, Canberra, Australia.
Eva Kusuma Sundari places new parliament in Myanmar in comparison to Indonesia during the Suharto’s rule. She will also share some information about post election democratic movement in Myanmar. The critical question is what Burma’s parliament has delivered in the past 100 days? And what constraint imposed on Myanmar’s Parliament?
50 people are expected to participate includes member of APDB, senators, government representatives, AUSAID, representative of Embassies, media, academicians, Burma Solidarity groups, human rights groups and NGOs.
The new parliament of Myanmar is the puppet of the military. With 80% seats controlled by Military backed parties, including 25% nominated seats for military, military has ensured the continued control of power. The government failed to establish peace, civil wars between government army and ethnic group’s army along the border of eastern Burma has been critical. The release of Aung San Suu Kyi is not precedent for the release of more than 2000 political prisoner. It is around 146 inmates died and the rest has lived in dire isolated prisons.
The authority of the new parliament has been squeezed. The members of parliament are prohibited to make contact with “unlawful” organization. Breaching this regulation will lead to the annulment of its parliament membership and party dissolution. No expose allowed to the outside world during the parliament sessions. The information from the parliament sessions is also limited. In the only closed sessions have been held, the government has rejected MP questions regarding human rights issues such as general amnesty for political prisoners, education and health system.
The parliamentarians around the world should condemn the authoritarian rule blatant actions of contravening the principles of democracy and pressure the Myanmar council of defence and national security to respect the authority of the parliament and continue lending support to democracy movement as legitimate voice of the people.
AIPMC therefore feels it necessary to strengthen the network and collaboration with parliamentarian in Australia and with parliament caucuses in many part of the world to enhance the campaign for democracy in Burma/ Myanmar.
For further comment/ media interviews with AIPMC Parliamentarians do contact
Aticha Wongwian at +66 838863494 (Thailand, Cambodia), Edmund Teoh +60123750974 (Malaysia, Singapore), Agung Putri Astrid +62 81514006416 (Indonesia, Philippines)
—
ข่าวประชาสัมพันธ์ – กลุ่มสมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อพม่า (Asean Inter-Parliamentary Myanmar Caucus หรือ AIPMC): “หนึ่งร้อยวันแห่งรัฐสภาพม่า” โดย เอวา ซันดาริ
ถ้อยแถลงของ นางเอวา ซันดาริ ประธานกลุ่มสมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อ พม่า ในสัมมนาเรื่อง “หนึ่ง ร้อยวันแห่งรัฐสภาพม่า” ณ กรุงแคนเบอร์ร่า ประเทศออสเตรเลีย ในวันที่ 12 พฤภาคม พ.ศ. 2554
นางเอวา ซันดาริ สมาชิกรัฐสภา อินโดนีเซียในฐานะประธานกลุ่ม AIPMC ได้เดินทางไปกรุง แคนเบอร์ร่า ในฐานะแขกรับเชิญขององค์ Burma Campaign Australia หรือ BCA ร่วม กับกลุ่มสมาชิกรัฐสภาออสเตรเลียเพื่อประชาธิปไตยในพม่า (Australian Parliamentarians for Democracy in Burma หรือ APDB) ในงานสัมมาครึ่งวัน เรื่อง “หนึ่งร้อยวันแห่งรัฐสภาพม่า” ในวันที่ 12 พฤภาคม พ.ศ. 2554 ณ อาคารรัฐสภา กรุงแคนเบอร์ร่า ประเทศ ออสเตรเลีย
นางเอวา ซันดาริ เปรียบเทียบรัฐสภาพม่าว่าคล้ายคลึงกับรัฐสภาอินโดนีเซียสมัยที่ซูฮาร์โตมี อำนาจ โดยนางซันดาริยังได้เผยข้อมูลบางอย่างเกี่ยวกับความเคลื่อนไหวด้าน ประชาธิปไตยหลังการเลือกตั้งในพม่าอีกด้วย คำถามสำคัญคือ “รัฐสภาพม่าทำอะไรบ้างในช่วง 100 วันที่ผ่านมา” และ “อะไรคือข้อจำกัดของรัฐสภาพม่า”
คาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมสัมมาครั้งนี้ประมาณ 50 คน ทั้งนี้รวมถึง สมาชิกกลุ่มสมาชิกรัฐสภาออสเตรเลียเพื่อประชาธิปไตยในพม่า หรือ APDB ตัวแทนจากองค์กร AUSIAD วุฒิสมาชิก ตัวแทนจากรัฐบาลและสถานทูตต่างๆ สื่อมวลชน นักวิชาการ บรรดากลุ่มนักกิจกรรมพม่า กลุ่มสิทธิมนุษยชน และองค์กรพัฒนาเอกชน
รัฐสภาใหม่ของพม่าเป็นเพียงหุ่นเชิดของรัฐบาลทหารพม่าก่อนหน้า โดยร้อยละ 80 ของจำนวนที่นั่งทั้งหมดในสภาตกเป็นของพรรคที่ทหารหนุนหลัง ซึ่งในจำนวนนี้รวมถึงจำนวนที่นั่งสำหรับเจ้าหน้าที่ทหารโดยเฉพาะ ซึ่งมีถึงร้อยละ 25 ของจำนวนที่นั่งทั้งหมด นับเป็น ที่แน่นอนว่ากองทัพสามารถสืบทอดอำนาจปกครองของพวกตนไว้ได้ ซึ่งรัฐบาลทหารพม่าประสบความล้มเหลวในการสร้างสันติภาพ การสู้รบระหว่างกองทัพพม่ากับกองกำลังติดอาวุธชนกลุ่มน้อยตลอดแนวชายแดนทิศ ตะวันออกของพม่ายังคงเป็นไปอย่างเข้มข้น การปล่อยตัวนางอองซาน ซูจี ไม่เป็นแบบอย่างให้เกิดการปล่อยตัวนักโทษการเมืองอีกมากกว่า 2000 คน ผู้ต้องขังประมาณ 146 คนได้เสียชีวิตแล้วและจำนวนที่เหลือต้องใช้ชีวิตอยู่ในเรือนจำที่โดดเดี่ยว และโหดร้าย
อำนาจหน้าที่ของรัฐสภาใหม่ของพม่าถูกบีบให้จำกัดอยู่เพียงน้อยนิด มีการห้ามสมาชิกรัฐสภาติดต่อกับองค์กร “ผิดกฏหมาย” ผู้ใดฝ่าฝืนจะถูกขับออกจากการเป็นสมาชิกและพรรคจะถูกยุบ ไม่อนุญาตให้มีการเปิดเผยการประชุมรัฐสภาต่อโลกภายนอก ข้อมูลใดๆ จากการประชุมรัฐสภามีจำกัดอย่างยิ่ง ในการประชุมปิดของรัฐสภาที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวนั้น รัฐบาลปฏิเสธไม่ตอบคำถามเกี่ยวกับประเด็นสิทธิมนุษยชน เช่น การนิรโทษกรรมแก่นักโทษการเมือง คำถามเกี่ยวกับระบบการศึกษา และการสาธารณสุข
สมาชิกรัฐสภาทั่วโลกควรประณามการกระทำที่เป็นเผด็จการอย่างโจ่งแจ้ง ซึ่งขัดแย้งกับหลัการประชาธิปไตย และกดดันให้สภากลาโหมและความมั่นคงของชาติแห่งพม่าเคารพซึ่งอำนาจแห่งรัฐสภาในฐานะที่เป็นเสียงของประชาชนอย่างแท้จริง และสนับสนุนความเคลื่อนไหวด้านประชาธิปไตยต่อไป
กลุ่ม AIPMC เล็งเห็นความจำเป็นในการเสริมสร้างเครือข่ายและความร่วมมือกับสมาชิกรัฐสภา ในประเทศออสเตรเลียและกลุ่มสมาชิกรัฐสภาอื่นๆ ในโลก เพื่อร่วมกันรณรงค์ให้เกิดประชาธิปไตยขึ้นในพม่า
Tags: ASEAN Inter-Parliamentary Myanmar Caucus, Australian Parliamentarians for Democracy in Burma, Burma Campaign Australia, Parliament, ThaiThis post is in: Press Release
Related Posts